Getting My รีวิวเครื่องเสียง To Work

เมื่อได้ซิสเตมที่ลงตัวในทุก ๆ องค์ประกอบแล้ว ระหว่างนั่งฟังไปเรื่อย ๆ บางช่วงเวลาผมเกือบลืมไปเลยว่าที่กำลังฟังอยู่นี้ คือ เครื่องเสียงรุ่นประหยัดที่ราคารวมกันถูกกว่าสายสัญญาณหรือสายไฟเอซีหลายรุ่นเสียอีก

การทำสภาพอะคูสติกภายในห้องที่ใช้อยู่อาศัยทั่วไปให้มีคุณสมบัติที่เป็นกลาง คือไม่ทำให้ความถี่ย่านใดดังขึ้นมามากเกินไป หรือเบาลงไปมากเกินไป นับว่าเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อนมาก โดยเฉพาะถ้าเป็นการปรับจูนสภาพอะคูสติกของห้องให้ได้ผลในการฟังเพลงที่ดีด้วย นอกจากจะต้องคำนึงถึงเรื่องของปัญหา

เพราะชอบฟังเพลงมาตั้งแต่เด็ก และมาเริ่มชอบเครื่องเสียงตอนโต เว็บไซต์แห่งนี้จึงเป็นเสมือนศูนย์รวมความชอบของผมที่อยากจะแบ่งปันให้กับเพื่อนๆ ที่ชื่นชอบในสิ่งเดียวกัน..

อย่างไรก็ดี ถ้าไม่มีการก้องสะท้อนของคลื่นเสียงภายในห้องเข้ามา “ช่วยเสริม” ไปกับคลื่นเสียงที่แผ่ออกมาจากไดเวอร์ เสียงที่เราได้ยินจะเบามาก โดยเฉพาะเสียงแหลม เพราะคลื่นเสียงจากไดเวอร์จะถูกทำให้สูญเสียพลังไปกับมวลอากาศขณะเคลื่อนตัวมาถึงผู้ฟัง ส่งผลให้คลื่นเสียงในย่านแหลมและกลางที่เดินทางไปถึงตำแหน่งนั่งฟังมีความดัง “น้อยกว่า” ความถี่ในย่านทุ้ม นั่นคือเสียโทนัลบาลานซ์ไป นี่คือเหตุผลที่ทำให้การปรับจูนสภาพอะคูสติกให้เหมาะสมกับการฟังเพลงให้ได้คุณภาพเสียงที่ดีจึงไม่ใช่เรื่องง่ายๆ แต่มันมีอะไรให้ต้องคิดมากกว่าแค่ดูดซับเสียงรอบๆ ห้องให้หมด และนี่คือเหตุผลที่ทำให้มีการคิดค้นอุปกรณ์ช่วยปรับสภาพอะคูสติกที่เรียกว่า diffuser ขึ้นมา

“ขนาด” และ “สัดส่วนของห้องฟัง” เป็นตัวแปรสำคัญอันดับหนึ่งที่ส่งผลต่อลักษณะและคุณภาพเสียงที่ออกมาจากลำโพง ส่วนสภาพอะคูสติกบนผนัง, พื้น และเพดานของห้องมีความสำคัญมากรองลงมาเป็นอันดับสอง การขยับลำโพงเปลี่ยนตำแหน่งวางโดยคงที่สภาพอะคูสติกเอาไว้ หรือในทางกลับกันคือคงที่ตำแหน่งลำโพงแต่ไปปรับเปลี่ยนสภาพอะคูสติกบนผนัง, พื้น หรือเพดาน ทั้งสองทางนี้ล้วนส่งผลต่อเสียงที่ออกจากลำโพงมาถึงหูของผู้ฟัง “อย่างมาก” ซึ่งขั้นตอนที่ถูกต้องในการปรับจูนเสียงของลำโพงในห้องฟังให้เริ่มต้นด้วยการกำหนดตำแหน่งวางลำโพงภายในห้องที่ทำให้เกิดปัญหา

ติดตั้งลงไปบนแผงไม้ที่ว่า ถ้ามีการออกแบบตัวจับแผงไม้กับผนังไว้ด้วยเพื่อป้องกันแผงล้มก็จะยิ่งดีขึ้น

ที่ต้องขจัดออกไปแล้ว จะต้องพยายามจัดการให้ได้ “โทนัลบาลานซ์” ของเสียงที่ดีที่สุดด้วย ทั้งในแง่ความถี่ตอบสนองของชุดเครื่องเสียง และในแง่ของแชนเนลบาลานซ์ คือต้องทำให้ความดังของเสียงทางฝั่งซ้าย (

โดยพื้นฐานแล้ว ต้นเหตุของปัญหาเรโซแนนซ์ (หรือเสียงครางหึ่งๆ กับเสียงครางวิ้งๆ) ในห้องมักจะเกิดจากการก้องสะท้อนที่มากเกินไปของความถี่ ขึ้นอยู่กับว่าจะเกิดขึ้นกับความถี่ย่านไหน ถ้าเรโซแนนซ์ที่ความถี่ต่ำก็จะครางหึ่งๆ ถ้าเรโซแนนซ์เกิดขึ้นที่ความถี่สูงก็จะครางวิ้งๆ ซึ่งในห้องทั่วไปมีโอกาสจะเกิดขึ้นได้ทั้งสองรูปแบบ บางครั้งอาจจะเกิดขึ้นพร้อมกันทั้งสองรูปแบบแต่คนละตำแหน่งก็เป็นไปได้

การทำสภาพอะคูสติกภายในห้องที่ใช้อยู่อาศัยทั่วไปให้มีคุณสมบัติที่เป็นกลาง คือไม่ทำให้ความถี่ย่านใดดังขึ้นมามากเกินไป หรือเบาลงไปมากเกินไป นับว่าเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อนมาก โดยเฉพาะถ้าเป็นการปรับจูนสภาพอะคูสติกของห้องให้ได้ผลในการฟังเพลงที่ดีด้วย นอกจากจะต้องคำนึงถึงเรื่องของปัญหา

) แต่ถ้าหมุนจะเป็นการปรับเพิ่ม/ลดความดัง

(สำหรับติดต่อลงโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์เท่านั้น)

* ทดลองย้ายสายไฟเอซีจากเพาเวอร์แอมป์ออกไปเสียบตรงเข้าปลั๊กผนัง เสียงโดยรวมดีขึ้นเยอะมาก.! อาการพุ่งกระแทกแบบตื้อๆ ลดน้อยลง ไดนามิกโดยรวมสวิงตัวได้กว้างขึ้น อาการหัวโน๊ตด้านๆ ลดน้อยลงมาก เสียงโดยรวมมีลักษณะที่ผ่อนคลายมากขึ้น ฟังไลน์เบสได้ชัดขึ้น แยกแยะรายละเอียดของเสียงดนตรีช่วงอลหม่านของเพลง “

จริงๆ แล้วตัวเลข 150W ต่อข้าง รีวิวเครื่องเสียง แทบจะไม่ได้บอกอะไรกับเรามากนัก ถ้าคุณมีประสบการณ์ในการทดสอบอุปกรณ์ประเภทแอมปลิฟายมาหลายๆ ตัว คุณจะค้นพบความจริงอยู่อย่างหนึ่ง นั่นคือ ตัวเลขกำลังขับที่ระบุไว้ในสเปคฯ คู่มือนั้น มันมาจากมาตรฐานการวัดค่าที่แตกต่างกัน และเชื่อเถอะว่า ต่อให้ใช้มาตรฐานเดียวกันในการวัดค่า มันก็จะให้ประสบการณ์ที่ต่างกันอยู่ดีตอนคุณเอามาใช้งานจริงในซิสเต็ม

  ที่ค่อนข้างชัดเจนก็อยู่ที่ความแน่นหนาของมวลเนื้อเมื่อความถี่ลาดต่ำลงไปถึงทุ้ม ซึ่งในย่านต่ำๆ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *